วันอาทิตย์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

Adjective clause

"ศีลเด่น  เป็นงาน  ชาญวิชา"




Adjective clause ก็คือ subordinate clause หรืออนุประโยคที่ดำรงอยู่โดดๆ
ไม่ได้ หากต้องเกาะเกี่ยวอยู่กับประโยคหลัก โดย adjective clause จะทำหน้าที่ในการ
ขยายความคำนามหรือคำสรรพนามของประโยคหลัก (main clause)


A. Peter married a woman.
B. A woman (she) works in his office
Peter married a woman who works in his office.
เราเรียก "who works in his office" ว่า Adjective clause หรือบางทีเราก็เรียกว่า Relative clause 
ใน adjective clause เรายังแยกรายละเอียดเป็น Defining และ Non-defining

Adjective Clause  ดูการอธิบายเพิ่มเติมจากวีดีโอครับ

Credited : http://youtube.com/watch?v=vtZk7mhJ6-g



หลังจาก ดูวีดีโอแล้ว ลองมาทำข้อสอบ
ข้อสอบผมทำเผื่อเด็กพิการทางด้านสายตา ฉนั้นอาจจะอ่านได้ไม่เร็วนะครับ  ค่อย ๆ อ่านไปครับ


ข้อสอบ GAT เดือน มีนาคม 2549 




Main menu





วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

English grammar 1-If Clause

"ศีลเด่น เป็นงาน ชาญวิชา"

English Grammar 1

ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย ครั้งที่ ๑/๒๕๔๓ มีนาคม
ข้อที่ ๑
สถานการณ์  มีคนโทรศัพท์มาที่ทำงานของคุณและขอพูดกับเจ้านาย คุณจะพูดว่า
Could I have your name, please?


สนทนาก็ได้ ทำ Grammar ข้อสอบก็ได้ครับ
+

***** 1. นักเรียนครับ นักเรียนจะต้องจดจำโครงสร้างของ If Clause ให้ได้
           2.  และจำประโยคตัวอย่างที่เกี่ยวกับ If Clause ที่ชอบเอาไว้ในใจครับ
           3. พอเวลานักเรียนสนทนาภาษาอังกฤษหรือเขียนอีเมล์ นักเรียนก็จะสามารถนำประโยคที่มีอยู่ในใจผสมกับคำศัพท์ ณ. วาระนั้น ผลักออกมาเป็นประโยคใช้งานได้ครับ


Credited : https://www.youtube.com/watch?v=4j0IJwNHQZE



เรามาดู If clause ที่เป็นเพลงเพื่อให้จดจำได้ง่ายขึ้น
Credited : http://youtube.com/watch?v=rkSV4fEnuss

ให้ดูการใช้ If clause "0" type เพิ่มเติม ครับ
If "1" type  จากวีดีโอข้างบน
If "2" type      "            "
If "3" type      "            "

ลิ้งค์เพิ่มเติมภาษาอังกฤษสอบเข้ามหาวิทยาลัย

ข้อสอบข้อที่ 1
ข้อสอบข้อที่ 2
ข้อสอบข้อที่ 3

วันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

English Conversation about Buddhist precepts

"ศีลเด่น  เป็นงาน  ชาญวิชา"

Precepts(n.) = ศีล

Five Precepts = 五戒(wǔjiè) = ศีลห้า

always = 一直  (yīzhí)= ตลอดเวลา

Buddhist(n.) = ชาวพุทธ
Buddhist precepts = ศีล(พุทธศาสนา)

Observe / follow(v.) = ปฏิบัติตาม
= 遵守 zūnshǒu

On a regular basis = สม่ำเสมอ

We observe the Buddhist precepts.  พวกเราเป็นคนถือศีล
= We follow the Buddhist precepts.พวกเราเป็นคนถือศีล

I observe the Buddhist precepts on a regular basis.
ผมถือศีลเป็นประจำ

ผมถือศีลห้าเป็นประจำ
我一直遵守五戒。(Wǒ yīzhí zūnshǒu wǔjiè)
I have always observed the five precepts.


วันเสาร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

Maths for Rice planting

"ศีลเด่น  เป็นงาน  ชาญวิชา"

ปลูกข้าว 1 ไร่ได้ข้าวเท่าไร

ลงทุนเท่าใด


ในการทำนาครั้งนี้ข้าวเปลือก 1 กิโลกรัมได้ข้าวสารกี่กิโลกรัม


คณิตศาสตร์ที่ใช้ในการทำนาข้าว


ค่าใช้จ่ายในการปลูกข้าว
1. ค่าสูบน้ำเช่น
1.1 ค่าเครื่องสูบน้ำ(ถ้ามี) บาท
1.2 ค่าแรงในการทำทางส่งน้ำ
2. ค่าแรงไถหว่าน
3. ค่าแรงไถคราด
4. ค่าพันธ์ข้าว
5. ค่าปุ๋ย
6. ค่าเกี่ยวข้าว
7. ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
8. ค่าเสื่อมราคาอุปกร์เครื่องจักรในการทำนาเช่น
8.1 ค่าเสื่อมราคาเครื่องไถ
8.2 ค่าเสื่อมราคาเครื่องตัดหญ้า
8.3 ค่าเสื่อมราคารถยนต์ที่ใช้
9. ค่าแรงหว่าน

การคำนวณปริมาณน้ำที่ใช้ในแปลงนาปลูกข้าว

ปริมาณน้ำที่ใช้กี่ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ในแปลงนาปลูกข้าว

ปริมาณข้าวพื้นที่ 1 ไร่ จะลงกล้าได้ทั้งหมด 6,400 หลุม
ต้นกล้า 1 หลุมแตกกอ 200 ต้น
เราจะได้ข้าวเพิ่ม 200 รวง
credited:https://www.thairath.co.th/content/574843

1 ลิตร = 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร
1 ลิตร = 1000 ml.
1 มิลลิลิตร = 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร  หรือ ซีซี (cc.)
1 ลูกบาศก์เมตร หรือ 1 ตัน หรือ 1 คิว  =  1000 ลิตร

1 ไร่  = 1600 ตารางเมตร
1 ไร่  = 400 ตารางวา
1 ไร่  = 4  งาน
1 งาน = 100  ตารางวา
1 ตารางเมตร = 10000 ตารางเซนติเมตร
1 วา  = 2 เมตร


                                      พื้นที่สี่เหลี่ยม ; กว้าง x ยาว ---->หน่วย(ตารางเมตร)


                                    ร่องน้ำที่ขุดเป็นรูป
                                    พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู (1/2 x  สูง x ผลบวกด้านคู่ขนาน)---->หน่วย(ตารางเมตร)

                                                    



                                 คำนวณร่องน้ำจากแปลงนา
                                 จากปริมาตรน้ำที่ใช้

                                            ปริมาตร = พื้นที่หน้าตัด x ความยาว หน่วย(ลูกบาศก์เมตร) 

วันศุกร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

Maths primary school level 5

"ศีลเด่น  เป็นงาน  ชาญวิชา"


เลขคณิตประถม 5. เรื่องเศษส่วนและทบทวนหน่วยความจำ

credited:https://www.youtube.com/watch?v=OJZ67A5BjKs&index=2&list=PL6N-esy2wIQosi8MCpW5rs951pbVwinVN



https://www.youtube.com/watch?v=BiCUCqiWOlo





Credited:https://www.youtube.com/watch?v=72cGniie5CU&t=7s





การบวกลบเศษส่วน


ทบทวนเรื่องการรบวกตัวเลข

https://www.youtube.com/watch?v=DsVGHFjy6JA



Level E

วันจันทร์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

Integration of Education Organic Rice-Planting

"ศีลเด่น  เป็นงาน  ชาญวิชา"


English vocabulary for planting rice
(คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการปลูกข้าว)

Land preparation การเตรียมดิน
plough (v.) = ไถ
plough (n.) = คันไถ , คราด , เครื่องไถ
plow(v.) = คาด
plowing(n.) = การคราด
harrow (v.)= ไถ
harrowing(n.) = การไถ
lawn mowers(n.) = เครื่องตัดหญ้า
grasstrimmer with shoulder-strap= เครื่องตัดหญ้าแบบสะพาย
hand tractor(n.) = รถไถนาด้วยมือ
paddy rice(n.) = ข้าวเปลือก
paddy field(n.) = นาข้าว
rice fields = ทุ่งนา
till (v.) = ไถพรวน
tillage =
weeds (n.) = วัชพืช
seed(n.) = เมล็ดพันธ์
seedling = ต้นอ่อน,ต้นกล้า
(young plant grown from seed)
seed = เมล็ดพันธ์

cultivate(v.) เตรียมดินสำหรับเพาะปลูก

transplant(v.)=ปลูกถ่าย
Ex. Doctors are able to transplant kidneys.
หมอสามารถย้ายไตจากคนหนึ่งไปอีกคนหนึ่งได้

You had better get rid of the weeds before tillage.
คุณควรจะกำจัดวัชพืชก่อนมีการไถพรวนดิน

Although you can simply pull the weeds from small areas, it may not be practical or desired for large areas.
ถึงแม้ว่าคุณจะสามารถถอนต้นหญ้าจากแปลงเล็ก ๆ ได้ แต่ในพื้นที่ขนาดใหญ่แล้วอาจไม่เป็นที่พึงประสงค์

The paddy had to be flooded and the soil worked into a soft mud to accept the rice seedlings.
พื้นที่นาต้องถูกเติมน้ำให้ท่วมและพื้นดินต้องเป็นดินโคลนเพื่อที่จะรองรับต้นกล้า

ridge= คันนา
Ex.  In preparation for rice planting in the rainy season, ridges are formed between rice fields., people used to grow soybeans on these ridges.
ในการเตรียมการปลูกข้าวในช่วงฤดูฝน, คันนาถูกสร้างขึ้นระหว่างแปลงนา, ผู้คนเคยกับการปลูกถั่วเหลืองบนแปลฃคันนา

small water way = ทางส่งน้ำขนาดเล็ก


The purpose for land preparation วัตถุประสงค์ในการเตรียมดิน
1) การปรับปรุงโครงสร้างของดินทางฟิสิกส์                                                                                            เพื่อปรับปรุงโครงสร้าง สมบัติทางฟิสิกส์ของดินในทุกๆ ด้านให้ดีขึ้น สมบัติดังกล่าวได้แก่ การมีช่องว่างอากาศในเม็ดดินเพิ่มขึ้น การเพิ่มความสามารถการเก็บรักษาความชื้นของดินและการระบายน้ำของดิน ตลอดถึงการย่อยดินให้แตกมีขนาดเหมาะสมต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของรากต้นกล้า
2) เพื่อกำจัดวัชพืชให้หมดไปจากพื้นที่ปลูก ทั้งนี้เพื่อลดการแก่งแย่งแข่งขันปัจจัยการผลิตพืชต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น แสง น้ำ และแร่ธาตุอาหารต่างๆ ระหว่างวัชพืชกับพืชปลูก ทำให้พืชปลูกสามารถเจริญเติบโตงอกงามได้รวดเร็วขึ้น โดยไม่มีคู่แข่ง
3) เพื่อเป็นการจัดเตรียมแปลงปลูก เตรียมแถวปลูกให้เหมาะสมกับพืชที่จะปลูก ตลอดทั้งเพื่อการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ เครื่องทุ่นแรงต่าง ๆ หลังจากที่พืชงอกแล้ว

ธาตุไนโตรเจนปกติจะมีอยู่ในอากาศในรูปของก๊าซไนโตรเจนเป็นจำนวนมาก แต่ไนโตรเจนในอากาศในรูปของก๊าซนั้น พืชนำเอาไปใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้ (ยกเว้นพืชตระกูลถั่วเท่านั้นที่มีระบบรากพิเศษสามารถแปรรูปก๊าซไนโตรเจนจากอากาศ เอามาใช้ประโยชน์ได้) ธาตุไนโตรเจนที่พืชทั่ว ๆ ไปดึงดูดขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้นั้น จะต้องอยู่ในรูปของอนุมูลของประกอบ เช่น แอมโมเนียมไอออน (NH4+) และไนเทรตไอออน (No3-) ธาตุไนโตรเจนในดินที่อยู่ในรูปเหล่านี้จะมาจากการสลายตัวของสารอินทรียวัตถุในดิน โดยจุลินทรีย์ในดินจะเป็นผู้ปลดปล่อยให้ นอกจากนั้นก็ได้มาจากการที่เราใส่ปุ๋ยเคมีลงไปในดินด้วย













พืชโดยทั่วไปมีความต้องการธาตุไนโตรเจนเป็นจำนวนมาก เป็นธาตุอาหารที่สำคัญมากในการส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของพืช พืชที่ได้รับไนโตรเจนอย่างเพียงพอ ใบจะมีสีเขียวสด มีความแข็งแรง โตเร็ว และทำให้พืชออกดอกและผลที่สมบูรณ์ เมื่อพืชได้รับไนโตรเจนมาก ๆ บางครั้งก็ทำให้เกิดผลเสียได้เหมือนกัน เช่น จะทำให้พืชอวบน้ำมาก ต้นอ่อน ล้มง่าย โรคและแมลงเข้ารบกวนทำลายได้ง่าย คุณภาพผลิตผลของพืชบางชนิดก็จะเสียไปได้ เช่น ทำให้ต้นมันไม่ลงหัว มีแป้งน้อย อ้อยจืด ส้มเปรี้ยว และมีกากมาก แต่บางพืชก็อาจทำให้คุณภาพดีขึ้น โดยเฉพาะพวกผักรับประทานใบ ถ้าได้รับไนโตรเจนมากจะอ่อน อวบน้ำ และกรอบ ทำให้มีเส้นใยน้อย และมีน้ำหนักดี แต่ผักมักจะเน่าง่าย และแมลงชอบรบกวน
พืชเมื่อขาดไนโตรเจนจะแคระแกร็น โตช้า ใบเหลือง โดยเฉพาะใบล่าง ๆ จะแห้ง ร่วงหล่นเร็วทำให้แลดูต้นโกร๋น การออกดอกออกผลจะช้า และไม่ค่อยสมบูรณ์นัก ดินโดยทั่ว ๆ ไปมักจะมีไนโตรเจนไม่เพียงพอกับความต้องการของพืช ดังนั้นเวลาปลูกพืชจึงควรใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยเคมีเพิ่มเติมให้กับพืชด้วย
https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi2/subsoil/nitro.htm


วันจันทร์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561